กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ลิงค์: https://ehenx.com/18176/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี,ปริญญาโททุกสาขา,ปริญญาโท
อัตราเงินเดือน: 12,650-21,180
อัตราว่าง: 27
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 18 ธ.ค. - 9 ม.ค. 2568
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
---
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งนักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ (ปริญญาโท) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน และเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ด้วยกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ (ปริญญาโท) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นักทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน และเจ้าพนักงานพัสดุ ปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการจึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 19250-21180 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาโททุกสาขา*
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 16500-18150 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 16500-18150 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 16500-18150 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 16500-18150 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 14 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 12650-13920 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 12650-13920 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 12650-13920 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาโทหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันทั้งในประเทศและต่างประเทศในทุกสาขาวิชา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ หรือสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา หรือไ ด้รับอนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทุกสาขาวิชา
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา หรือ ได้รับอนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทุกสาขาวิชา
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา หรือ ได้รับอนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทุกสาขาวิชา
นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการพาณิชย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและให้บริการข้อมูลการค้าและล่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การค้าระหว่างประเทศและการพัฒนาผู้ผลิต ผู้ส่งออกไทย ผู้ประกอบธุรกิจบริการ และผู้นำเข้าในต่างประเทศ
(๒) เสริมสร้างความรู้ความสามารถแก่ภาคเอกชนในด้านการค้าระหว่างประเทศ ให้มี ขีดความสามารถในการแข่งขันและสมรรถนะในการส่งออก ตลอดจนประสานงาน และให้ความร่วมมือแก่สถาบัน และองค์กรต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
(๓) ดำเนินกิจกรรมล่งเสริมและพัฒนาการตลาด ธุรกิจ งานด้านล่งเสริมการส่งออก รวมทั้ง การอำนวยความสะดวก การบริหารจัดการด้านการค้า และการลงทุน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบธุรกิจและ ชยายโอกาสในการแข่งขันทางการค้า
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไป รวมทั้งหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้รับบริการได้ข้อมูลและสามารถดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๒) ให้บริการข้อมูลวิชาการ สถิติการค้า การตลาดที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งตอบข้อหารือต่าง ๆ ในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไป รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ข้อมูลด้านการพาณิชย์ที่เป็น ประโยชน์ต่อการดำเนินงานของผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไปและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูประบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแล้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตาม ความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แล้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้!ด้ระบบ ข้อมูลของหน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน และพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และ ตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
(๖) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง และการติดตั้ง ระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้และ หน่วยงาน
(๗) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่าย ไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใฃ้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่ เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ คังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ออกแบบงานด้านพาณิชยศิลป็ งานด้านบรรจุภัณฑ์หรืองานด้าน อื่นๆ พัฒนาการออกแบบสินค้า บริการ และกระบวนการผลิต ให้บริการงานออกแบบ งานพัฒนาแบบผลิตภัณฑ์ แก่ผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม
(๒) สำรวจ และเก็บข้อมูลทางด้านรูปแบบของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพื่อนำมาศึกษาและ วางแนวทางการพัฒนารูปแบบใหม่ๆ
๒. ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ต้านการบริการ
ให้ความรู้ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์แก่ผู้ผลิต ผู้ล่งออก ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานด้าน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และแนะนำเกี่ยวกับเรื่องบรรจุกัณฑ์กับผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้แก่ภาคเอกชน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจการเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรุปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง
(๒) รวบรวมข้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ ส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหนดแผนการปฏิบัติงานหรือ โครงการให้สามารถบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
(๓) วิเคราะห์นโยบายชองส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผน การปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือ กิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและ ประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงาน หรือกำหนดยุทธศาสตร์
(๕) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาล เพื่อ ประกอบการเสนอแนะแนวทางการประสานผลักคันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผล ให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน
๒. ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ต้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) รวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความร้ที่เกี่ยวกับการจัดทำแผนงาน โครงการ
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานนโยบายและแผน เพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ หรือของส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและ การถ่ายทอด ความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนและบุคลากรภาครัฐในต่างประเทศ รวมถึงการวางแผน และเสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ และแผนการจัดสรร ทุนการศึกษาและการัฝืกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่ง และการ วางแผนอัตรากำลังของส่วนราชการ
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหาร ผลการ ปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ก้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการ ทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๗) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๘) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้าง ความเข้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจชองหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุน ภารกิจของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการ ต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ คังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่าง หนังสือโต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังลือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการด้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้1ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไป ตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณ ประจำปีของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไปเพื่อ ชอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของ หน่วยงาน
๒. ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงาน
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดชื้อ จัดจ้าง การเก็บรักษา นำล่ง การซ่อมแชม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่างและตรวจสัญญาชื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชา ในหน่วยงาน
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการ ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ ๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ
นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
๑. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจการค้าและการตลาดระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๒. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๓. การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์การค้าและการส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ (แบบอัตนัย)
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
๑. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล (แบบปรนัย) ได้แก่
๑.๑ ความรู้พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์
๑.๒ พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
๑.๓ การบริหารจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศ
๑.๔ โครงสร้างพื้นฐานทางสารสนเทศ ระบบเครือข่าย และการสื่อสารข้อมูล
๑.๕ ความรู้ด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๒.๑ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๔๕๐ และ ที่แก่ไขเพิ่มเดิม
๒.๒ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
๒.๓ พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไชเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒
๒.๔ พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๔๖๔
๒.๕ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒
๓. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๔. ความรู้ด้านสารสนเทศและการบริการการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ กรมล่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบอัตนัย) ด้งนี้
๔.๑ ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และการ บริหารโครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์
๔.๒ ความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แสะความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ปฏิบัติการ
๑. ความรู้ด้านการออกแบบและการส่งเสริมนวัตกรรมเพื่อการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์ (แบบปรนัย) ได้แก่ - แนวโน้มการออกแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และการตลาดในระดับสากล - การล่งเสริมผู้ประกอบการด้านการออกแบบในการดำเนินธุรกิจการค้าระหว่างประเทค - การส่งเสริมการให้บริการด้านการออกแบบสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศ
- การพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศ
๓. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมล่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๔. ความรู้ด้านการออกแบบและสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิขย์ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ กรมล่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบอัตนัย)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
๑. ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจการค้าภายในและระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๒.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราขการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๒ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๔๔๖
๒.๓ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๘๐) และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
๒.๔ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห้งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๗๐)
๓. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
๔. ความรู้ด้านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนงาน โครงการ งบประมาณ กองทุน การติดตามและประเมินผล โครงการพิเศษสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs Pro-active การจัดทำแผนปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับภารกิจกรมล่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
๑. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (แบบปรนัย)
๒. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (แบบปรนัย)
๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
๓.๒ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
๓.๓ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕
๓.๔ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
๓.๕ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
๔. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๑.๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
๑.๒ พระราขบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๓ พระราขบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๔ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานธุรการ
๑.๕ ความรู้ในการใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและโปรแกรมพื้นฐาน
๒. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๑.๑ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๒ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และระเบียบว่าด้วยการบริหาร งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
๑.๓ พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แค้!ขเพิ่มเดิม
๑.๔ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกคำใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๕ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
๑.๖ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการธีเกอบรม การจัดงาน และการประชุม ระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๗ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai)
๑.๙ ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชีเบื้องต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (แบบปรนัย) ได้แก่
๑.๑ ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ๑.๒ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๓ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๔ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๕ ระเบียบกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐของ
ส่วนราชการในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑.๖ จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (แบบปรนัย)
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 18 ธ.ค. - 9 ม.ค. 2568 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | file 2 | เว็บรับสมัคร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น